ผู้ป่วยติดเตียง ที่ให้อาหารทางสายยาง มักมีปัญหาสุขภาพตามมา

ผู้ป่วยติดเตียง มักมีปัญหาสุขภาพตามมา เช่น การเกิดแผลกดทับ เกิดภาวะขาดสารอาหารอย่างรุนแรง เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินปัสสาวะ ที่กล่าวมานั้นเรียกว่าผู้ป่วยติดเตียง หรือปัญหาที่เกิดจากการให้อาหารทางสายยาง เช่น สุขภาพ เช่น ท้องผูกเพราะร่างกายขยับน้อย เคลื่อนไหวได้น้อย ซึ่งการที่ร่างกายได้รับใยอาหารเสริม หรือ จุลินทรีย์ชนิดดี ก็จะช่วยบรรเทาอาการท้องผูกได้

การลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายยางให้อาหาร

การลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้จากการสายยางให้อาหารทางจมูกนั้น เริ่มต้นจากพิจารณา เหตุผลในการใส่ สายยางให้อาหารว่าเหมาะสมกับผู้ป่วยหรือไม่ เพื่อป้องกันผู้ป่วยได้รับความเสี่ยงที่เกินความจำเป็น และตรวจสอบเสมอว่าสายยางให้อาหารนั้นอยู่ในกระเพาะอาหารหรือไม่ก่อนที่จะให้อาหาร ก่อนการให้ยา หลังพบอาการไอ อาเจียนหรือเกร็ง หรือแม้แต่เมื่อผู้ป่วยบ่นว่าไม่สุขสบายและรู้สึกมีอาหารขย้อนขึ้นมาในปากหรือคอ

การใส่สายยางให้อาหารที่ถูกต้อง โดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

การใส่สายยางให้อาหารนั้น ต้องคำนึงถึงความสะอาดมาเป็นอันดับแรก เริ่มต้นจากการล้างมือให้สะอาด ทำการตรวจสอบดูรูจมูกผนังกั้นผู้ป่วยว่ามีทางสะดวกหรือไม่อะไรอุดกั้นหรือไม่ การใส่สายยางให้ถูกตำแหน่ง และการตราวจเช็คความเรียบร้อยและความถูกต้องอีกที และที่สำคัญคือ ไว้ การดูแลทำความสะอาดเช็ดสายและช่องปากจมูกให้สะอาดพร้อมสังเกตอาการผิดปกติหลังใส่สายอย่างให้อาหาร เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเกิดอาการแทรกซ้อน

ภาวะแทรกซ้อนที่สามารถเกิดขึ้นได้หลังใส่สายยางให้อาหาร

ภาวะแทรกซ้อนนั้นสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อและตลอดเวลา โดยอาจมีสาเหตุและไม่มีสาเหตุได้ โดยเริ่มต้นจากการที่สายยางให้อาหารเลื่อนหลุดจากกระเพาะอาหารทำให้ของเหลว น้ำย่อย อาหารในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นไปอยู่ในหลอดอาหารเมื่อผู้ป่วยนอนลงอาจทำให้อาหารเข้าไปให้หลอดลมจนอาจก่อให้เกิดภาวะปอดอักเสบ/ปอดบวมได้

อาหารที่สามารถรับประทานได้ สำหรับผู้ที่มีปัญหาการกลืน

สำหรับใครที่มีภาวะการกลืนอาหารลำบากควรที่จะเลือกรับประทานอาหารที่มีความอ่อน เพื่อที่จะได้รับสารอาหารที่เพียงพอ โดยส่วนใหญ่การเกิดภาวะการกลืนลำบาก อาจจะต้องมีการใช้วิธีการให้อาหารทางสายยาง

ข้อควรระวังของการปรุงอาหารปั่นผสม

สำหรับใครที่ต้องการปรุงอาหารปั่นผสม ให้สำหรับผู้ป่วยที่ต้องพักฟื้นที่บ้านหรือผู้ป่วยที่ติดเตียงก็สามารถทำได้ แต่ควรทราบข้อมูลอย่างละเอียด ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ การเตรียมอุปกรณ์ รวมไปถึงรายละเอียดต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ปริมาณอาหารที่จะให้กับผู้ป่วย วัตถุดิบต่าง ๆที่เหมาะสมกับผู้ป่วย รวมไปถึงสัดส่วนของสารอาหารที่ผู้ป่วยควรจะได้รับเพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะให้อาหารทางสายยาง

ประเภทของผู้ป่วยที่ต้องให้อาหารทางหลอดเลือดดำ

การให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ซึ่งจะพบได้เสมอกับผู้ป่วยที่สูงอายุหรือผู้ป่วยที่ป่วยด้วยปัญหาทางสมองที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุรุนแรง อยู่ในภาวะเจ็บป่วยจนไม่สามารถรับอาหารได้มากเพียงต่อร่างกายต้องการ ผู้ป่วยที่ไม่ควร ให้อาหารทางปากหรือทางกระเพาะลำไส้เลย

ทำไมต้องให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำ

สำหรับการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ให้การอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำใต้ผิวหนังโดยใช้เข็มหรือใช้สายสวนสอดเขาใต้ผิวหนัง พยายามให้ปลายสายสอดไปอยู่ในหลอดเลือดดำใหญ่ให้บริเวณใกล้ๆกับขั้วหัวใจเป็นวิธีที่แพทย์ในปัจจุบันใช้อยู่ เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยที่ไม่ควรรับอาหารทางปากหรือทางกระเพาะลำไส้เลย

ปัญหาที่มักพบในการให้อาหารทางสายยางผ่านรูจมูก

การใส่สายยางให้อาหารผ่านทางรูจมูก ปัญหาที่อาจจะพบได้บ่อยคือ สายยางให้อาหารเกิดการลื่นหลุดออกจากตำแหน่งของกระเพาะอาหาร และปัญหาทางกายภาพคือ สายยางให้อาหารทำให้จมูก เกิดการอักเสบได้ เนื่องจากให้เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุจมูกข้างนั้น ๆ และสายยางให้อาหารอาจจะทำให้เกิดคออักเสบ หรือต่อมทอนซิลอักเสบได้

อันตรายจากการสำลักอาหารขณะให้อาหารทางสาย

สำหรับการรักษาอาการสำลักอาหารขึ้นอยู่กับสาเหตุและตำแหน่งของอวัยวะที่เกิดการสำลัก บางกรณีสามารถรักษาได้หรือยาแต่ในบางกรณีอาจต้องใช้การฝึกกลืน ควรจะหยุดรับประทานอาหารทันที เพราะอาจจะทำให้หลอดลมอักเสบหรือปอดอักเสบได้