การดูแลสายยางให้อาหารผู้ป่วย
การให้อาหารทางสายยางเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยตรง เพื่อให้ได้รับอาหาร น้ำและยา เพียงพอกับความต้องการของร่างกายสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้หรือมีปัญหาในการกลืน
การให้อาหารทางสายยางเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยตรง เพื่อให้ได้รับอาหาร น้ำและยา เพียงพอกับความต้องการของร่างกายสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้หรือมีปัญหาในการกลืน
สำหรับผู้ป่วยในโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังนั้น หากไม่ได้คุมอาหารจะไม่ได้มีผลต่ออาการมากนักจะไม่เหมือนโรคเรื้อรังไม่ติดต่อชนิดอื่น ไม่มีการรักษาที่แน่ชัด
การดูแลเรื่องหารผู้ป่วยกลุ่มหลอดเลือดในสมองนั้น เบื้องต้นต้องทราบว่าผู้ป่วยนั้นมีภาวะแทรกซ้อนใดๆหรือไม่ หากอยู่ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงจะต้องลดเค็ม หรืออยู่ในกลุ่มโรคเบาหวานจะต้องลดหวานลง
การควบคุมอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคอ้วนลงพุง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง เพื่อควบคุมการสะสมของไขมันที่หน้าท้อง ให้อยู่เกณฑ์ที่เหมาะสมด้วย
ปัญหาของการให้ อาหารทางสายยาง แล้วอาหารไม่ไหลเข้าสายยาง กล่าวคือ สายยางให้อาหารเกิดการอุดตันนั่นเองซึ่งการอุดตันของสายยางให้อาหาร มีด้วยกันหลายปัจจัย
การให้อาหารผู้ป่วยก็มีปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการรับประทานอาหาร ในหลายปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ควรได้รับสารอาหารทางสายยางมากที่สุดคือ บุคคล ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก ช่องคอ จนเกิดปัญหาของการกลืนอาหาร การดื่มน้ำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำ
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ จะต้องมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับอาหารทางสายยาง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
ระวัง ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ให้อาหารทางสายยาง ! การเกิดโรคขาดสารอาหาร พบได้ในผู้ป่วยที่ได้รับอาหารผ่านสายยางเป็นระยะเวลานาน
การให้อาหารทางสายยางนั้น ต้องทำโดยผู้ดูแลที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการให้อาหารทางสายยาง ทั้งนี้ การให้อาหารทางสายยางมีขั้นตอนที่ยุ่งยากพอสมควร