ข้อดีของอาหารทางการแพทย์

ข้อดีของอาหารทางการแพทย์ มีวิธีการเตรียมที่ไม่ยุ่งยาก สามารถใช้เป็นอาหารหลักแทนอาหารแต่ละมื้อได้ และยังมีส่วนช่วยในระบบย่อยและดูดซึมอาหารได้

ความแตกต่างระหว่างอาหารปั่นผสมและอาหารทางการแพทย์

สำหรับความแตกต่างของ อาหารปั่นผสมและอาหารทางการแพทย์ มีข้อแตกต่างที่เห็นได้ชัดหลายข้อ ไม่ว่าจะเป็น ชนิดของอาหาร วิธีการรับประทาน คุณสมบัติและประโยชน์ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีรายละเอียดที่ไม่เหมือนกัน

อาหารทางการแพทย์สามารถใช้เป็นอาหารทางสายยางแก่ผู้ป่วยได้หรือไม่

เพราะฉะนั้น อาหารทางการแพทย์ ก็สามารถใช้เป็นอาหารสำหรับให้ผู้ป่วยทางสายยางได้เช่นเดียวกัน เนื่องจากอาหารทางการแพทย์สามารถนำมาชง ทำให้เป็นของเหลวเพื่อให้ไหลผ่านเข้าทางสายยางให้อาหารได้

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ที่เป็นโรคหัวใจควรได้รับสารอาหารที่เหมาะสมทั้งคุณภาพและปริมาณ เพราะจะช่วยป้องกันการเก็บพลังงานที่เกินพอในรูปของไขมัน ทำให้ไม่เกิดโรคอ้วน และไม่ทำให้โรคหลอดเลือดหัวใจตามมาได้

แนวทางการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยติดเตียง

สำหรับการรับประทานอาหาร สำหรับผู้ป่วยติดเตียงเราจะมาพูดถึงอาหารที่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุรวมไปถึงผู้ป่วยติดเตียงด้วย สำหรับผู้ป่วยหากต้องรับประทานเนื้อสัตว์ต่างๆ ควรอยู่ในกลุ่มโปรตีนเช่น เนื้อปลา เนื้อไก่ เพราะจะมีความนุ่มมากกว่าเนื้อชนิดอื่นๆ เพื่อทำให้ผู้ป่วยสามารถบดเคี้ยวอาหารได้ง่าย กลืนอาหารได้ง่าย ป้องกันการสำลัก

อาหารสำหรับผู้ป่วยวัณโรคปอด

สำหรับโรควัณโรคปอด เป็นโรคติดต่อโดยการสูดอากาศที่มีตัวเชื้อเข้าไป ถึงแม้ว่าวัณโรคจะสามารถป้องกันได้และรักษาได้ แต่โรควัณโรคก็ถือว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้คนเสียชีวิตมากเป็น 1 ใน 10 ด้วยวัณโรคเป็นโรคติดเชื้อเรื้อรัง ที่เกิดจากแบคทีเรียเอ็มทีบีซี

อาหารทางการแพทย์สูตรเฉพาะโรค

สูตรอาหารทางการแพทย์สูตรเฉพาะโรค ซึ่งเหมาะสม กับผู้ป่วยเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง เนื่องจากจะมีการคำนวณปริมาณและสัดส่วนหารให้เหมาะสมกับโรคตัวอย่างเช่น อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน จะเป็นอาหารทางการแพทย์ที่มีการพัฒนาสูตรออกมาโดยใช้สัดส่วนของคาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งพลังงาน ไปใช้คาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ เพื่อไม่ให้ระดับน้ำตาลในเลือดขึ้นสูง

อาหารทางการแพทย์สำหรับโรคตับ

สำหรับอาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ จะต้องมีการจำกัดในเรื่องของปริมาณไขมัน 25% ของพลังงานทั้งหมด เนื่องจากผู้ป่วยโรคตับมักมีความผิดปกติในการย่อยไขมันในอาหารและมีปริมาณโปรตีนสูง 25% ของพลังงานทั้งหมด

อาหารทางการแพทย์สำหรับโรคไตเรื้อรัง

สำหรับอาหารทางการแพทย์ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จะมีลักษณะคืออาหารจะมีการจำกัดในเรื่องของปริมาณแร่ธาตุ เช่นโซเดียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส ที่อาจจะมีการคั่งอยู่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และมีปริมาณโปรตีนที่สูงถึง 17% ของพลังงานทั้งหมด เนื่องจากผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไตจะมีความต้องการโปรตีนเพิ่มสูงมากขึ้น และนอกจากนี้ต้องมีความเข้มข้นของพลังงานสูงคือให้พลังงาน 1.8 กิโลแคลอรี่

อาหารทางการแพทย์สำหรับโรคเบาหวาน

อาหารทางการแพทย์สำหรับโรคเบาหวานนั้น เป็นกลุ่มของอาหารทางการแพทย์ที่มีการพัฒนาสูตรออกมามากที่สุด สำหรับโรคเบาหวานมักจะมีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งพลังงานต่ำกว่าอาหารทางการแพทย์สูตรอื่นๆ และจะมีการใช้คาร์โบไฮเดรตที่มีค่าน้ำตาลต่ำ เพื่อชะลอไม่ให้ระดับน้ำตาลในเลือดขึ้นสูงหลังจากรับประทานอาหารเ