ผู้ป่วยวิกฤต เป็นผู้ป่วยท้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีภาวะเสี่ยงที่จะเสียชีวิตหรือการทำงานของระบบร่างกายอาจจะล้มเหลวได้ จึงมีความจำเป็นจะต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด สำหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตทั่วไป เราต้องระมัดระวังในทุกเรื่องอยู่แล้ว จะต้องมีการเตรียมความพร้อมเพื่อทำการรักษาหรือหัตการอยู่ตลอด เช่นผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ เป็นต้น ผู้ป่วยวิกฤตมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนหรือภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เนื่องจากร่างกายที่มีความผิดปกติ หรือบางรายอาจจะส่งผลกระทบต่อระบบต่างๆภายในร่างกาย ให้กระบวนการต่างๆทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยวิกฤตที่ต้องให้อาหารทางสายยาง ที่อาจจะมีการทำงานของระบบย่อยอาหารที่ผิดปกติ หรือระบบย่อยอาหารที่อาจจะทำงานได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นรางกายของผู้ป่วยมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากได้รับสารอาหารด้วยวิธีการที่ไม่ปกติ คือต้องให้อาหารทางสายยางนั่นเอง ซึ่งการให้อาหารทางสายยาง เป็นการให้อาหารสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ จึงจำเป็นต้องให้อาหารทางสายยยาง เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่ต้องระมัดระวัง เพราะจะทำให้เกิดอันตรายหรือปัญหาอื่นๆตามมา เช่น อาจจะทำให้ส่งผลต่อการทำงานของระบบย่อยอาหาร รวมไปถึงระบบขับถ่ายของผู้ป่วยที่ าจจะทำให้เกิดการทำงานที่ผิดปกติได้ เช่นเดียวกันกับผู้ป่วยวิกฤตที่ต้องให้อาหารทางสายยาง เนืาองจากภาวะการเจ็บป่วย หรือผู้ป่วยที่อาจจะหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ละไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ ก็ต้องได้รับการดูแลในเรื่องของการรับประทานอาหาร เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ได้รับอาหาร น้ำ หรือยา อาจจะทำให้เกิดอันตายถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้กับผู้ป่วยวิกฤตก็คือ ภาวะการขาดสารอาหาร หรือร่วมไปถึงทำให้ร่างกายเกิดอาการอ่อนเพลีย ส่งผลไปถึงกล้ามเนื้อของผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยวิกฤต ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกาย หรือและไม่ได้รับสารอาหารที่จะไปบำรุงร่างกาย อาจจะทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายเกี่ยวกัยระบบกล้ามเนื้อ สำหรับการดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทั่วไป เป็นการดูแลผู้ที่มีมีภาวะล้มเหลวหรือเสี่ยงต่อการล้มเหลวของการทำงานของอวัยวะสำคัญของร่างกาย เช่นระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต โดยภาวะเหล่านี้ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้อย่างรุนแรง และรวดเร็ว.