อาหารปั่นผสม สูตรผัก สำหรับผู้ป่วยทั่วไป

สูตรอาหารปั่นผสม สูตรผัก สำหรับใช้กับผู้ป่วยทั่วไป ของ SN Food นั้น ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำงานได้อย่างเป็นปกติ และยังมีส่วนช่วยในการขับของเสียออกจากร่างกาย นอกจากนี้ผักยังช่วยในการฟอกเลือด เพราะการรับประทานผักเป็นประจำจะเป็นการฟอกเลือดไปในตัว

อาหารปั่นผสม สูตรโปรตีนสูง ใช้กับผู้ป่วยที่ต้องการโปรตีนและพลังงานสูง

อาหารปั่นผสม SN มีสูตรอาหารโปรตีนสูง ใช้กับผู้ป่วยที่ต้องการโปรตีนและพลังงานสูง โดยเราจะนำวัตถุดิบต่าง ๆที่นักโภชนาการเป็นผู้กำหนดมาผ่านกระบวนการทำให้สุก คำนึงถึงประโยชน์ด้านโภชนาการเป็นหลักเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับ

ผลข้างเคียงของการรับประทานอาหารเหลวใส

อาหารเหลวใสเราสามารถหารับประทานได้ แต่ต้องเลือกรับประทานให้ถูกต้องถูกประเภท เพราะอาหารเหลวใสบางชนิดอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียง เช่น อาจจะมีอาการหิวปวดหัว คลื่นไส้ อ่อนเพลีย และท้องร่วง อย่างไรก็ตามหากมีอาการที่รุนแรงขึ้น เราต้องติดต่อแพทย์ทันทีว่า มีวิธีรับมืออย่างไรบ้าง

อาหารเหลวใส ย่อยง่าย ให้ประโยชน์มาก

สำหรับอาหารเหลวใส จะประกอบไปด้วยของเหลวที่ไม่มีชิ้นเนื้อใดๆปน ซึ่งสามารถรับประทานได้ง่าย อาจมีสี หรืออาจมีรสชาติได้เล็กน้อย โดยอาหารเหลวใสชนิดนี้จะสามารถย่อยได้ง่าย และไม่ทำให้ระบบย่อยอาหารทำงานหนักจนเกินไป เหมาะสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุหรือบุคคลทั่วไปที่รักษาสุขภาพ

อาหารสำหรับผู้ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาต

อาหารที่จะช่วยต้านอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ดีคืออาหารประเภทปลาทะเล เพราะอุดมไปด้วยโอเมก้า 3 ที่มีส่วนช่วยในการลดไขมันไตรกลีเซอไรด์ ควบคุมการเต้นของหัวใจและลดการแข็งตัวของเกล็ดเลือดได้เป็นอย่างดี ช่วยลดความเสี่ยงและป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ดี

การดูดเสมหะก่อนการให้อาหารทางสายยาง

ซึ่งก่อนการให้อาหารนั้นก็จะมีวิธีการดูดเสมหะออกเสียก่อน โดยจะกระตุ้นให้ผู้ป่วยไอเพื่อเอาเสมหะออกมาสำหรับผู้ป่วยที่ไอแล้วเอาเสมหะออกมาไม่ได้ ผู้ดูแลควรช่วยดูเสมหะให้ผู้ป่วยก่อนการให้อาหารทุกครั้ง และต้องล้างมือให้สะอาดก่อนการให้อาหาร

สายยางให้อาหารตัน จะต้องแก้ไขปัญหาได้อย่างไร ?

ผู้ดูแลนั้นจะต้องมีความเชี่ยวชาญ ทราบถึงการเตรียมอุปกรณ์ ขั้นตอนการให้ การให้อาการอย่างถูกวิธี และวิธีสังเกตอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดที่จะต้องเฝ้าระวัง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดไม่ว่าจะเป็น อาการไอขณะให้อาหาร สำลักขณะให้อาหาร หรือแม้แต่สายางเกิดการอุดตัน

ภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยวิกฤตที่ต้องให้อาหารทางสายยาง

ผู้ป่วยวิกฤต เป็นผู้ป่วยท้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีภาวะเสี่ยงที่จะเสียชีวิตหรือการทำงานของระบบร่างกายอาจจะล้มเหลวได้ จึงมีความจำเป็นจะต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด สำหรับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตทั่วไป เราต้องระมัดระวังในทุกเรื่องอยู่แล้ว จะต้องมีการเตรียมความพร้อมเพื่อทำการรักษาหรือหัตการอยู่ตลอด เช่นผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ เป็นต้น ผู้ป่วยวิกฤตมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนหรือภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เนื่องจากร่างกายที่มีความผิดปกติ หรือบางรายอาจจะส่งผลกระทบต่อระบบต่างๆภายในร่างกาย ให้กระบวนการต่างๆทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยวิกฤตที่ต้องให้อาหารทางสายยาง ที่อาจจะมีการทำงานของระบบย่อยอาหารที่ผิดปกติ หรือระบบย่อยอาหารที่อาจจะทำงานได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นรางกายของผู้ป่วยมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากได้รับสารอาหารด้วยวิธีการที่ไม่ปกติ คือต้องให้อาหารทางสายยางนั่นเอง   ซึ่งการให้อาหารทางสายยาง เป็นการให้อาหารสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ จึงจำเป็นต้องให้อาหารทางสายยยาง เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่ต้องระมัดระวัง เพราะจะทำให้เกิดอันตรายหรือปัญหาอื่นๆตามมา เช่น อาจจะทำให้ส่งผลต่อการทำงานของระบบย่อยอาหาร รวมไปถึงระบบขับถ่ายของผู้ป่วยที่ าจจะทำให้เกิดการทำงานที่ผิดปกติได้ เช่นเดียวกันกับผู้ป่วยวิกฤตที่ต้องให้อาหารทางสายยาง เนืาองจากภาวะการเจ็บป่วย หรือผู้ป่วยที่อาจจะหมดสติ ไม่รู้สึกตัว  ละไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ ก็ต้องได้รับการดูแลในเรื่องของการรับประทานอาหาร เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ได้รับอาหาร น้ำ หรือยา อาจจะทำให้เกิดอันตายถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้กับผู้ป่วยวิกฤตก็คือ ภาวะการขาดสารอาหาร หรือร่วมไปถึงทำให้ร่างกายเกิดอาการอ่อนเพลีย ส่งผลไปถึงกล้ามเนื้อของผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยวิกฤต ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกาย หรือและไม่ได้รับสารอาหารที่จะไปบำรุงร่างกาย อาจจะทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายเกี่ยวกัยระบบกล้ามเนื้อ สำหรับการดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทั่วไป เป็นการดูแลผู้ที่มีมีภาวะล้มเหลวหรือเสี่ยงต่อการล้มเหลวของการทำงานของอวัยวะสำคัญของร่างกาย เช่นระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต โดยภาวะเหล่านี้ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้อย่างรุนแรง และรวดเร็ว.

หลายคนสงสัย อาหารทางสายยาง ควรแบ่งให้ผู้ป่วยวันละกี่มื้อ ?

สำหรับอาหารทางสายยาง ผู้ป่วยควรได้รับอาหารที่สามารถย่อยได้ง่ายและผู้ดูแลจะต้องปรุงอาหารด้วยที่สามารถย่อยง่ายและเป็นประโยชน์ต่อร่างกายของผู้ป่วย

การดูแลสายยางให้อาหารผู้ป่วย

การให้อาหารทางสายยางเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยตรง เพื่อให้ได้รับอาหาร น้ำและยา เพียงพอกับความต้องการของร่างกายสำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้หรือมีปัญหาในการกลืน