ข้อดีของอาหารทางการแพทย์

ข้อดีของอาหารทางการแพทย์ มีวิธีการเตรียมที่ไม่ยุ่งยาก สามารถใช้เป็นอาหารหลักแทนอาหารแต่ละมื้อได้ และยังมีส่วนช่วยในระบบย่อยและดูดซึมอาหารได้

ความแตกต่างระหว่างอาหารปั่นผสมและอาหารทางการแพทย์

สำหรับความแตกต่างของ อาหารปั่นผสมและอาหารทางการแพทย์ มีข้อแตกต่างที่เห็นได้ชัดหลายข้อ ไม่ว่าจะเป็น ชนิดของอาหาร วิธีการรับประทาน คุณสมบัติและประโยชน์ ซึ่งแต่ละอย่างจะมีรายละเอียดที่ไม่เหมือนกัน

อาหารทางการแพทย์สามารถใช้เป็นอาหารทางสายยางแก่ผู้ป่วยได้หรือไม่

เพราะฉะนั้น อาหารทางการแพทย์ ก็สามารถใช้เป็นอาหารสำหรับให้ผู้ป่วยทางสายยางได้เช่นเดียวกัน เนื่องจากอาหารทางการแพทย์สามารถนำมาชง ทำให้เป็นของเหลวเพื่อให้ไหลผ่านเข้าทางสายยางให้อาหารได้

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ต้องการเสริมเส้นใยอาหาร

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่มีความต้องการเสริมอาหารประประเภทเส้นใยอาหาร ซึ่งถือว่าดีต่อระบบการขับถ่ายและยังช่วยให้ร่างกายมีระดับน้ำตาลที่พอดีด้วย

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยขาดสารอาหาร

การรักษาภาวะขาดสารอาหารสามารถทำได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ซึ่งแพทย์อาจแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารว่างระหว่างมื้ออาหาร หรือดื่มเครื่องดื่มที่ให้แคลอรี่จำนวนมากแก่ร่างกาย

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ

อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ที่เป็นโรคหัวใจควรได้รับสารอาหารที่เหมาะสมทั้งคุณภาพและปริมาณ เพราะจะช่วยป้องกันการเก็บพลังงานที่เกินพอในรูปของไขมัน ทำให้ไม่เกิดโรคอ้วน และไม่ทำให้โรคหลอดเลือดหัวใจตามมาได้

อาหารทางการแพทย์ สามารถเตรียมเองได้หรือไม่

การเตรียมอาหารทางการแพทย์แก่ผู้ป่วยหรือผู้พักฟื้น เนื่องจากอาหารที่ได้จะมีความหนืด ความข้น ทำให้การให้กับผู้ป่วยเป็นไปได้ยากมากขึ้น นอกจากนี้ญาติหรือผู้ดูแลควรปรึกษาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับส่วนประกอบหรือส่วนผสมที่จะนำมาใช้ในการผสมอาหารแก่ผู้ป่ว

อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยมะเร็ง

อาหารในผู้ป่วยโรคมะเร็งนั้นจะถูกแบ่งออกตามความสามารถในการรับประทานอาหารของผู้ป่วย โดยอาหารเสริม จะถูกพิจารณาใช้ในกรณีที่ร่างกายได้รับสารอาหารจากอาหารหลักไม่ครบถ้วนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายสำหรับการรับประทานอาหารเพื่อดำรงชีวิต

อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ที่มีปัญหาในการย่อยและการดูดซึมสารอาหาร

เมื่อร่างกายเรามีภาวะอาหารหรือดูดซึมอาหารที่ผิดปกติ มักทำให้เกิดปัญหาโรคหรือความผิดปกติต่าง ๆเช่น โรคลำไส้อักเสบ ภาวะตับอ่อนล้มเหลว โดยระบบย่อยอาหารนั้น มีหน้าที่เปลี่ยนอาหารที่เรารับประทานเข้าไปให้กลายเป็นพลังงานเพื่อให้ร่างกายได้นำไปใช้ รวมทั้งขับกากอาหารหรือของเสียออกนอกร่างกาย ผ่านทางทวารหนัก

อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ที่ต้องการโปรตีนสูง/ส่งเสริมภูมิคุ้มกัน

สำหรับอาหารทางการแพทย์ที่เหมาะสำหรับกลุ่มผู้ที่ต้องการโปรตีนสูง ในอาหารทางการแพทย์ก็จะมีปริมาณโปรตีนที่สูงกว่าสูตรทั่วไปมาก และมีการเติมสารอาหารที่ช่วยส่งเสริมภูมิคุ้มกันและมีส่วนช่วยลดการอักเสบ จึงเหมาะกับผู้ป่วยที่มีความต้องการโปรตีนเพิ่มสูงขึ้นมาก เช่น โรคมะเร็ง ผู้ป่วยพักฟื้นจากการผ่าตัดใหญ่ ผู้ป่วยแผลไฟไหม้ บาดเจ็บรุนแรงเฉียบพลัน เป็นต้น