วิธีการใส่สายยางให้อาหาร ทางจมูก !

วิธีการใส่สายยางให้อาหารเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วย ก่อนพยาบาลหรือผู้ดูแลจะใส่สายยางให้อาหาร จะต้องทำการวัดความยาวของสายยาง เพื่อที่จะใส่สายยางให้ปลายสายอยู่ที่กระเพาะอาหาร

ผลข้างเคียงของการให้ อาหารทางสายยาง ผ่านจมูก !

การให้อาหารทางสายยางโดยผ่านรูจมูกนั้น สามารถเกิดผลข้างเคียงแก่ร่างกายผู้ป่วยได้หลายกรณี เพราะหากใส่สายยางไปในตำแหน่งที่ผิด อาจจะทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายได้

วิธีการป้องกัน การอุดตันของสายยางให้อาหาร !

การป้องกันการอุดตันของสายยางให้อาหาร หากเกิดข้อผิดพลาดในเรื่องของสายอาหารอุดตัน ผู้ดูแลควรให้น้ำหลังให้อาหาร หรือ นมทุกครั้งอย่างน้อย 20 – 30 ซีซี

อาการเบื่ออาหาร ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ของผู้ป่วยที่ต้องให้ อาหารทางสายยาง !

อาการเบื่ออาหาร ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ของผู้ป่วยที่ต้องให้ อาหารทางสายยาง ! สาเหตุมากจากร่างกายาี่เปลี่ยนไป ประสาทสัมผัสจะไม่ดีเท่าที่ควร

วิธีการป้องกัน ลมเข้ากระเพาะผู้ป่วย ขณะให้อาหารทางสายยาง !

วิธีการป้องกัน ลมเข้ากระเพาะผู้ป่วย ขณะให้อาหารทางสายยาง ! ผู้ดูแลจะต้องดึงจุกที่ปิดหัวต่อปลายสายให้อาหารออก ขณะเดียวกันใช้นิ้ว พับสายคีบเอาไว้

ระยะเวลาการย่อย ของ อาหารปั่นผสม ที่ให้ทางสายยาง !

ระยะเวลาการย่อย ของ อาหารปั่นผสม ที่ให้ทางสายยาง ! กระบวนการย่อยอาหารปกติใช้เวลาระหว่าง 24 ถึง 72 ชั่วโมง อาหารทางสายยางที่ให้จึงต้องมีสารอาหารครบถ้วน

วิธีการป้องกัน ลมเข้ากระเพาะผู้ป่วย ขณะให้อาหารทางสายยาง !

การให้อาหารทางสายยางแก่ผู้ป่วย ผู้ดูแลจะต้องระมัดระวังเรื่องของอุปกรณ์ให้อาหารทางสายยาง จะต้องมีความชำนาญในเรื่องของการใช้อุปกรณ์

การลดความเสี่ยง จากการให้อาหารทางสายยาง

ความเสี่ยงจากการให้อาหารทางสายยางให้อาหาร ถ้าสายยางเข้าไปในปอด อาจจะทำให้ผู้ป่วยสำลักอาหารเข้าไปในปอด ทำให้เกิดภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด

การลดความเสี่ยง จากการให้ อาหารทางสายยาง

ความเสี่ยงจากการให้อาหารทางสายยางให้อาหาร ถ้าสายยางเข้าไปในปอด อาจจะทำให้ผู้ป่วยสำลักอาหารเข้าไปในปอด ทำให้เกิดภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด ทางเดินหายใจอุดกั้น

การใส่สายอาหารทางหน้าท้อง เพื่อให้ อาหารทางสายยาง

การใส่สายยางให้อาหารทางหน้าท้อง โดยใช้กล้องส่องกระเพาะอาหารช่วยนำสายยางให้อาหารเจาะผ่านออกมาทางหน้าท้อง วิธีนี้จะง่าย สะดวก รวดเร็ว