สำหรับการให้ยาทางสายยางให้อาหารนั้นมักจะพบปัญหาได้บ่อย การอุดตันของสายยางให้อาหาร การเกิดพิษจากยา ประสิทธิภาพของยาลดลง หรือทำให้การดูดซึมของยาลดลง
วิธีการใส่สายยางให้อาหารเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วย ก่อนพยาบาลหรือผู้ดูแลจะใส่สายยางให้อาหาร จะต้องทำการวัดความยาวของสายยาง เพื่อที่จะใส่สายยางให้ปลายสายอยู่ที่กระเพาะอาหาร
การให้อาหารทางสายยางโดยผ่านรูจมูกนั้น สามารถเกิดผลข้างเคียงแก่ร่างกายผู้ป่วยได้หลายกรณี เพราะหากใส่สายยางไปในตำแหน่งที่ผิด อาจจะทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายได้
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมา ควรจะรับประทาน อาหารที่ช่วยให้แผลผ่าตัดหายได้เร็วขึ้น อาหารที่ช่วยให้ลดการอักเสบ เช่นอาหารที่มีโปรตีนสูง
การป้องกันการอุดตันของสายยางให้อาหาร หากเกิดข้อผิดพลาดในเรื่องของสายอาหารอุดตัน ผู้ดูแลควรให้น้ำหลังให้อาหาร หรือ นมทุกครั้งอย่างน้อย 20 - 30 ซีซี
วิธีการจัดท่าผู้ป่วย ก่อนจะให้ อาหารสายยาง ! ควรจัดท่านอนให้ผู้ป่วยศีรษะอยู่สูงอย่างน้อย 45 องศา ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวควรให้หนุนหมอนสูง
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ที่ต้องฟอกเลือด การรับประทาน อาหารสุขภาพ ก็ถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะอาหารที่รับประทานเข้าไป จะส่งผลต่อร่างกายและอาการป่วยโดยตรง
อาการเบื่ออาหาร ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ของผู้ป่วยที่ต้องให้ อาหารทางสายยาง ! สาเหตุมากจากร่างกายาี่เปลี่ยนไป ประสาทสัมผัสจะไม่ดีเท่าที่ควร
อาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุน ระมัดระวังไม่กินอาหารประเภทโปรตีนหรือเนื้อสัตว์มากเกินไป เพราะจะกระตุ้นให้ไตขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ
ขั้นตอนการเตรียมอาหารปั่นผสม ขั้นตอนหลัก ๆ ของการเตรียมอาหารปั่นผสมคือ ต้องต้มวัตถุดิบทุกชนิดให้สุกจนเปื่อย เพื่อที่จะได้ทำการปั่นได้ง่ายๆ